บทสวดมนต์ มงคลสูตร จากหนังสือสวดมนต์แปล ฉบับรวบรวมและแปลโดย พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) วัดมกุฏกษัตริยาราม ซึ่งได้มอบให้มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นเจ้าของ (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 11/2533) (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2481) (542 หน้า)
สามารถดาวน์โหลด Ebook ไฟล์ PDF หนังสือสวดมนต์แปล และไฟล์ DOC, EPUB บทสวดมนต์แปล มาไว้อ่านบนเครื่องคอมพิวเตอร์/โทรศัพท์มือถือ ได้ที่ Link :
https://drive.google.com/drive/folders/0BzNKymgMsofBOThBX3gzNUhWTXc?resourcekey=0-w3YZgnd85d_xWTdYISLL_A&usp=sharing
https://play.google.com/store/search?q=ting074ch&c=books
สามารถรับฟังเสียงสวดมนต์ (สวดมนต์ ทำนองมคธ / ธรรมยุติ โดยไม่เปลี่ยนเสียงพยัญชนะ) และเสียงอ่านคำแปลบทสวดมนต์บางบท ได้ที่ ting074ch Youtube Channel ที่ Link :
https://www.youtube.com/channel/UC0lr6qLF2P9Lm5XdtbsXiQw
เริ่มมงคลสูตร
|
(หน้า
51)
|
ยญฺจ
ทฺวาทส วสฺสานิ
จินฺตยิํสุ สเทวกา
|
ก็มนุษย์ทั้งหลาย พร้อมทั้งเทพดา คิดหามงคลอันใด สิ้น 12 ปี
|
จิรสฺสํ จินฺตยนฺตาปิ
เนว ชานึสุ
มงฺคลํ
จกฺกวาฬสหสฺเสสุ
ทสสุ เยน
ตตฺตกํ
กาลํ โกลาหลํ
ชาตํ
ยาว พฺรหฺมนิเวสนา
|
มนุษย์และเทพดาเหล่านั้นในหมื่นจักรวาฬ แม้เมื่อคิดหาช้านานก็ไม่รู้ ซึ่งมงคลอันนั้น ด้วยกาลมีประมาณเท่าใด โกลาหลก็เกิดตลอดถึงที่อยู่แห่งพรหม สิ้นกาลมีประมาณเท่านั้น
|
ยํ โลกนาโถ
เทเสสิ
|
สมเด็จพระโลกนาถ ได้เทศนามงคลอันใด
|
สพฺพปาปวินาสนํ
|
เครื่องยังลามกทั้งปวงให้ฉิบหายไป
|
ยํ สุตฺวา
สพฺพทุกฺเขหิ
มุจฺจนฺตาสงฺขิยา นรา
|
นรชนทั้งหลายนับไม่ถ้วน ได้ฟังมงคลอันใดแล้ว พ้นจากทุกข์ทั้งปวง
|
เอวมาทิคุณูเปตํ
มงฺคลนฺตมฺภณาม เห.
|
เราจงกล่าวมงคลอันนั้น อันประกอบด้วยคุณ มีอย่างนี้เป็นต้น เทอญ.
|
มงคลสูตร
|
(หน้า
52)
|
เอวมฺเม สุตํ
|
อันข้าพเจ้า (คือ พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้
|
เอกํ สมยํ
ภควา
|
สมัยหนึ่ง
สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
|
สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน
อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม
|
เสด็จประทับอยู่ ที่เชตวันวิหาร
อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี
ใกล้เมืองสาวัตถี
|
อถ โข
อญฺญตรา เทวตา
|
ครั้งนั้นแลเทพดาองค์ใดองค์หนึ่ง
|
อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา
อภิกฺกนฺตวณฺณา
|
ครั้นเมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว
มีรัศมีอันงามยิ่งนัก
|
เกวลกปฺปํ เชตวนํ
โอภาเสตฺวา
|
ยังเชตวันทั้งสิ้นให้สว่าง
|
เยน ภควา
เตนุปสงฺกมิ
|
พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่โดยที่ใด ก็เข้าไปเฝ้าโดยที่นั้น
|
อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ
อภิวาเทตฺวา
|
ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวาย
อภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว
|
เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ
|
ได้ยืนอยู่ ในท่ามกลางส่วนข้างหนึ่ง
|
เอกมนฺตํ ฐิตา
โข สา เทวตา
|
ครั้นเทพดานั้น ยืนในที่สมควร
ส่วนข้างหนึ่งแล้วแล
|
ภควนฺตํ คาถาย
อชฺฌภาสิ
|
ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า
ด้วยคาถาว่า
|
พหู
เทวา มนุสฺสา จ
|
หมู่เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก
|
มงฺคลานิ อจินฺตยุํ
อากงฺขมานา โสตฺถานํ
|
ผู้หวังความสวัสดี ได้คิดหามงคลทั้งหลาย
|
พฺรูหิ มงฺคลมุตฺตมํ
|
ขอพระองค์จงเทศนา มงคลอันสูงสุด.
|
(สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า)
|
|
อเสวนา จ
พาลานํ
|
ความไม่คบชนพาลทั้งหลาย
1
|
ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
|
ความคบบัณฑิตทั้งหลาย
1
|
ปูชา จ
ปูชนียานํ
|
ความบูชาชนควรบูชาทั้งหลาย
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
ปฏิรูปเทสวาโส จ
|
ความอยู่ในประเทศอันสมควร
1
|
ปุพฺเพ จ
กตปุญฺญตา
|
ความเป็นผู้มีบุญ อันทำแล้วใน
กาลก่อน
1
|
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ
|
ความตั้งตนไว้ชอบ
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
พาหุสจฺจญฺจ สิปฺปญฺจ
|
ความได้ฟังแล้วมาก
1
ศิลปศาสตร์
1
|
วินโย จ
สุสิกฺขิโต
|
วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว
1
|
สุภาสิตา จ
ยา วาจา
|
วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
มาตาปิตุอุปฏฺฐานํ
|
ความบำรุงมารดาและบิดา
1
|
ปุตฺตทารสฺส สงฺคโห
|
ความสงเคราะห์ลูกและเมีย
1
|
อนากุลา จ
กมฺมนฺตา
|
การงานทั้งหลายไม่อากูล
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
ทานญฺจ ธมฺมจริยา
จ
|
ความให้
1 ความประพฤติธรรม 1
|
ญาตกานญฺจ สงฺคโห
|
ความสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย
1
|
อนวชฺชานิ กมฺมานิ
|
กรรมทั้งหลายไม่มีโทษ
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
อารตี วิรตี
ปาปา
|
ความงดเว้นจากบาป
1
|
มชฺชปานา จ
สญฺญโม
|
ความสำรวมจากการดื่มน้ำเมา
1
|
อปฺปมาโท จ
ธมฺเมสุ
|
ความไม่ประมาท ในธรรมทั้งหลาย 1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
คารโว จ
นิวาโต จ
|
ความเคารพ
1
ความไม่จองหอง
1
|
สนฺตุฏฺฐี จ
กตญฺญุตา
|
ความยินดี ด้วยของอันมีอยู่ 1
ความเป็นผู้รู้อุปการะ อันท่านทำแล้วแก่ตน 1
|
กาเลน ธมฺมสฺสวนํ
|
ความฟังธรรมโดยกาล
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
ขนฺตี จ
โสวจสฺสตา
|
ความอดทน
1
ความเป็นผู้ว่าง่าย
1
|
สมณานญฺจ ทสฺสนํ
|
ความเห็นสมณะทั้งหลาย
1
|
กาเลน ธมฺมสากจฺฉา
|
ความเจรจาธรรมโดยกาล
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
ตโป จ
พฺรหฺมจริยญฺจ
|
ความเพียรเผากิเลส
1
ความประพฤติอย่างพรหม 1
|
อริยสจฺจาน ทสฺสนํ
|
ความเห็นอริยสัจทั้งหลาย
1
|
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ
|
ความทำพระนิพพานให้แจ้ง
1
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
ผุฏฺฐสฺส โลกธมฺเมหิ
จิตฺตํ ยสฺส
น กมฺปติ
|
จิตของผู้ใด อันโลกธรรมทั้งหลายถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว
|
อโสกํ วิรชํ
เขมํ
|
ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม
|
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
|
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.
|
เอตาทิสานิ กตฺวาน
|
เทพดาและมนุษย์ทั้งหลายกระทำมงคลทั้งหลายเช่นนี้แล้ว
|
สพฺพตฺถมปราชิตา
|
เป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ในที่ทั้งปวง
|
สพฺพตฺถ โสตฺถึ
คจฺฉนฺติ
|
ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง
|
ตนฺเตสํ มงฺคลมุตฺตมนฺติ.
|
ข้อนั้น เป็นมงคลอันสูงสุด ของ
เทพดา และมนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้นแล.
|
มีประโยชน์มากๆครับ
ตอบลบ