บทสวดมนต์ อาทิตตปริยายสูตร จากหนังสือสวดมนต์แปล ฉบับรวบรวมและแปลโดย พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) วัดมกุฏกษัตริยาราม ซึ่งได้มอบให้มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นเจ้าของ (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 11/2533) (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2481) (542 หน้า)
สามารถดาวน์โหลด Ebook ไฟล์ PDF หนังสือสวดมนต์แปล และไฟล์ DOC, EPUB บทสวดมนต์แปล มาไว้อ่านบนเครื่องคอมพิวเตอร์/โทรศัพท์มือถือ ได้ที่ Link :
https://drive.google.com/drive/folders/0BzNKymgMsofBOThBX3gzNUhWTXc?resourcekey=0-w3YZgnd85d_xWTdYISLL_A&usp=sharing
https://play.google.com/store/search?q=ting074ch&c=books
สามารถรับฟังเสียงสวดมนต์ (สวดมนต์ ทำนองมคธ / ธรรมยุติ โดยไม่เปลี่ยนเสียงพยัญชนะ) และเสียงอ่านคำแปลบทสวดมนต์บางบท ได้ที่ ting074ch Youtube Channel ที่ Link :
https://www.youtube.com/channel/UC0lr6qLF2P9Lm5XdtbsXiQw
เริ่มอาทิตตปริยายสูตร
|
(หน้า
218)
|
เวเนยฺยทมโนปาเย
สพฺพโส ปารมึ
คโต
อโมฆวจโน พุทฺโธ
อภิญฺญายานุสาสโก
|
พระพุทธเจ้า ได้ถึงพระบารมีแล้วโดยประการทั้งปวง ในอุบายฝึกเวไนยสัตว์ มีพระวาจาไม่เปล่าจากประโยชน์ ทรงพร่ำสอนเพื่อความตรัสรู้ยิ่ง
|
จิณฺณานุรูปโต จาปิ
ธมฺเมน วินยํ
ปชํ
|
และทรงแนะนำหมู่สัตว์ โดยธรรมตามสมควรแก่อุปนิสัยที่เคยประพฤติมา
|
จิณฺณาคฺคิปาริจริยานํ
สมฺโพชฺฌารหโยคินํ
ยมาทิตฺตปริยายํ
เทสยนฺโต มโนหรํ
|
ทรงแสดงอาทิตตปริยายอันใดเป็นเครื่องนำใจ ของพวกพระโยคี ผู้ควรจะตรัสรู้ ซึ่งเป็นชฎิลเคยบำเรอไฟ
|
เต โสตาโร
วิโมเจสิ
|
ได้ทรงยังพระโยคีผู้สดับเหล่านั้น ให้พ้นแล้ว
|
อเสกฺขาย วิมุตฺติยา
|
ด้วยอเสกขวิมุตติ
|
ตเถโวปปริกฺขาย
วิญฺญูนํ โสตุมิจฺฉตํ
ทุกฺขตาลกฺขโณปายํ
ตํ สุตฺตนฺตํ
ภณาม เส.
|
เราทั้งหลาย จงสวดอาทิตตปริยายสูตรนั้น เป็นอุบายเครื่องกำหนดความทุกข์ เพื่อวิญญูชนทั้งหลาย ผู้ปรารถนาเพื่อจะฟัง โดยความใคร่ครวญอย่างนั้นเทอญ.
|
อาทิตตปริยายสูตร
|
(หน้า
219)
|
เอวมฺเม สุตํ
|
อันข้าพเจ้า (คือพระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้
|
เอกํ สมยํ
ภควา
|
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า
|
คยายํ วิหรติ
คยาสีเส
|
เสด็จประทับอยู่ที่คยาสีสะ ใกล้แม่น้ำคยา
|
สทฺธึ ภิกฺขุสหสฺเสน
|
กับด้วยพระภิกษุพันหนึ่ง
|
ตตฺร โข
ภควา
|
ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า
|
ภิกฺขู อามนฺเตสิ
|
ตรัสเตือนพระภิกษุทั้งหลาย (ให้ตั้งใจสดับพุทธภาษิตนี้) ว่า
|
สพฺพํ ภิกฺขเว
อาทิตฺตํ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน
|
กิญฺจ ภิกฺขเว
สพฺพํ อาทิตฺตํ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า ชื่อว่าสิ่งทั้งปวง เป็นของร้อน
|
จกฺขุํ
ภิกฺขเว อาทิตฺตํ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุ
(คือนัยน์ตา) เป็นของร้อน
|
รูปา อาทิตฺตา
|
รูปทั้งหลาย เป็นของร้อน
|
จกฺขุวิญฺญานํ อาทิตฺตํ
|
วิญญาณอาศัยจักษุ เป็นของร้อน
|
จกฺขุสสมฺผสฺโส อาทิตฺโต
|
สัมผัสอาศัยจักษุ เป็นของร้อน
|
ยมฺปิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตมฺปิ อาทิตฺตํ
|
แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อน
|
เกน อาทิตฺตํ
|
ร้อนเพราะอะไร
|
อาทิตฺตํ ราคคฺคินา
|
ร้อนเพราะไฟคือราคะ
|
โทสคฺคินา โมหคฺคินา
|
เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ
|
อาทิตฺตํ ชาติยา
|
ร้อนเพราะความเกิด
|
ชรามรเณน
|
เพราะความแก่และความตาย
|
โสเกหิ ปริเทเวหิ
|
เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน
|
ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ
|
เพราะความทุกข์ เพราะความเสียใจ
|
อุปายาเสหิ
|
เพราะความคับแค้นใจ
|
อาทิตฺตนฺติ วทามิ
|
เราจึงกล่าวว่าเป็นของร้อน
|
โสตํ
อาทิตฺตํ
|
โสตะ (คือหู)
เป็นของร้อน
|
สทฺทา อาทิตฺตา
|
เสียงทั้งหลาย เป็นของร้อน
|
โสตวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ
|
วิญญาณอาศัยโสตะ เป็นของร้อน
|
โสตสมฺผสฺโส อาทิตฺโต
|
สัมผัสอาศัยโสตะ เป็นของร้อน
|
ยมฺปิทํ โสตสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะโสตสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตมฺปิ อาทิตฺตํ
|
แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อน
|
เกน อาทิตฺตํ
|
ร้อนเพราะอะไร
|
อาทิตฺตํ ราคคฺคินา
|
ร้อนเพราะไฟคือราคะ
|
โทสคฺคินา โมหคฺคินา
|
เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ
|
อาทิตฺตํ ชาติยา
|
ร้อนเพราะความเกิด
|
ชรามรเณน
|
เพราะความแก่และความตาย
|
โสเกหิ ปริเทเวหิ
|
เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน
|
ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ
|
เพราะความทุกข์ เพราะความเสียใจ
|
อุปายาเสหิ
|
เพราะความคับแค้นใจ
|
อาทิตฺตนฺติ วทามิ
|
เราจึงกล่าวว่าเป็นของร้อน
|
ฆานํ
อาทิตฺตํ
|
ฆานะ (คือจมูก)
เป็นของร้อน
|
คนฺธา อาทิตฺตา
|
กลิ่นทั้งหลาย เป็นของร้อน
|
ฆานวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ
|
วิญญาณอาศัยฆานะ เป็นของร้อน
|
ฆานสมฺผสฺโส อาทิตฺโต
|
สัมผัสอาศัยฆานะ เป็นของร้อน
|
ยมฺปิทํ ฆานสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะฆานสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตมฺปิ อาทิตฺตํ
|
แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อน
|
เกน อาทิตฺตํ
|
ร้อนเพราะอะไร
|
อาทิตฺตํ ราคคฺคินา
|
ร้อนเพราะไฟคือราคะ
|
โทสคฺคินา โมหคฺคินา
|
เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ
|
อาทิตฺตํ ชาติยา
|
ร้อนเพราะความเกิด
|
ชรามรเณน
|
เพราะความแก่และความตาย
|
โสเกหิ ปริเทเวหิ
|
เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน
|
ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ
|
เพราะความทุกข์ เพราะความเสียใจ
|
อุปายาเสหิ
|
เพราะความคับแค้นใจ
|
อาทิตฺตนฺติ วทามิ
|
เราจึงกล่าวว่าเป็นของร้อน
|
ชิวฺหา
อาทิตฺตา
|
ชิวหา (คือลิ้น)
เป็นของร้อน
|
รสา อาทิตฺตา
|
รสทั้งหลาย เป็นของร้อน
|
ชิวฺหาวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ
|
วิญญาณอาศัยชิวหา เป็นของร้อน
|
ชิวฺหาสมฺผสฺโส อาทิตฺโต
|
สัมผัสอาศัยชิวหา เป็นของร้อน
|
ยมฺปิทํ ชิวฺหาสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตมฺปิ อาทิตฺตํ
|
แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อน
|
เกน อาทิตฺตํ
|
ร้อนเพราะอะไร
|
อาทิตฺตํ ราคคฺคินา
|
ร้อนเพราะไฟคือราคะ
|
โทสคฺคินา โมหคฺคินา
|
เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ
|
อาทิตฺตํ ชาติยา
|
ร้อนเพราะความเกิด
|
ชรามรเณน
|
เพราะความแก่และความตาย
|
โสเกหิ ปริเทเวหิ
|
เพราะความโศก เพราะความร่ำไรรำพัน
|
ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ
|
เพราะความทุกข์ เพราะความเสียใจ
|
อุปายาเสหิ
|
เพราะความคับแค้นใจ
|
อาทิตฺตนฺติ วทามิ
|
เราจึงกล่าวว่าเป็นของร้อน
|
กาโย
อาทิตฺโต
|
กายเป็นของร้อน
|
โผฏฺฐพฺพา อาทิตฺตา
|
โผฏฐัพพะ (คือสิ่งที่ถูกต้องทางกาย) เป็นของร้อน
|
กายวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ
|
วิญญาณอาศัยกาย เป็นของร้อน
|
กายสมฺผสฺโส อาทิตฺโต
|
สัมผัสอาศัยกาย เป็นของร้อน
|
ยมฺปิทํ กายสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้เกิดขึ้น เพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตมฺปิ อาทิตฺตํ
|
แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อน
|
เกน อาทิตฺตํ
|
ร้อนเพราะอะไร
|
อาทิตฺตํ ราคคฺคินา
|
ร้อนเพราะไฟคือราคะ
|
โทสคฺคินา
|
เพราะไฟคือโทสะ
|
โมหคฺคินา
|
เพราะไฟคือโมหะ
|
อาทิตฺตํ ชาติยา
|
ร้อนเพราะความเกิด
|
ชรามรเณน
|
เพราะความแก่และความตาย
|
โสเกหิ
|
เพราะความโศก
|
ปริเทเวหิ
|
เพราะความร่ำไรรำพัน
|
ทุกฺเขหิ
|
เพราะความทุกข์
|
โทมนสฺเสหิ
|
เพราะความเสียใจ
|
อุปายาเสหิ
|
เพราะความคับแค้นใจ
|
อาทิตฺตนฺติ วทามิ
|
เราจึงกล่าวว่าเป็นของร้อน
|
มโน
อาทิตฺโต
|
มนะ (คือใจ)
เป็นของร้อน
|
ธมฺมา อาทิตฺตา
|
ธรรมทั้งหลาย (คืออารมณ์ที่เกิดแก่ใจ) เป็นของร้อน
|
มโนวิญฺญาณํ อาทิตฺตํ
|
วิญญาณอาศัยมนะ เป็นของร้อน
|
มโนสมฺผสฺโส อาทิตฺโต
|
สัมผัสอาศัยมนะ เป็นของร้อน
|
ยมฺปิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตมฺปิ อาทิตฺตํ
|
แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อน
|
เกน อาทิตฺตํ
|
ร้อนเพราะอะไร
|
อาทิตฺตํ ราคคฺคินา
|
ร้อนเพราะไฟคือราคะ
|
โทสคฺคินา
|
เพราะไฟคือโทสะ
|
โมหคฺคินา
|
เพราะไฟคือโมหะ
|
อาทิตฺตํ ชาติยา
|
ร้อนเพราะความเกิด
|
ชรามรเณน
|
เพราะความแก่และความตาย
|
โสเกหิ
|
เพราะความโศก
|
ปริเทเวหิ
|
เพราะความร่ำไรรำพัน
|
ทุกฺเขหิ
|
เพราะความทุกข์
|
โทมนสฺเสหิ
|
เพราะความเสียใจ
|
อุปายาเสหิ
|
เพราะความคับแค้นใจ
|
อาทิตฺตนฺติ วทามิ
|
เราจึงกล่าวว่าเป็นของร้อน
|
เอวํ ปสฺสํ
ภิกฺขเว
สุตวา อริยสาวโก
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับมาแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้
|
จกฺขุสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในจักษุ
|
รูเปสุปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในรูปทั้งหลาย
|
จกฺขุวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยจักษุ
|
จกฺขุสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยจักษุ
|
ยมฺปิทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
|
โสตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในโสตะ
|
สทฺเทสุปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในเสียงทั้งหลาย
|
โสตวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยโสตะ
|
โสตสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยโสตะ
|
ยมฺปิทํ โสตสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะโสตสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
|
ฆานสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในฆานะ
|
คนฺเธสุปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในกลิ่นทั้งหลาย
|
ฆานวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยฆานะ
|
ฆานสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยฆานะ
|
ยมฺปิทํ ฆานสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะฆานะสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
|
ชิวฺหายปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในชิวหา
|
รเสสุปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในรสทั้งหลาย
|
ชิวฺหาวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยชิวหา
|
ชิวฺหาสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยชิวหา
|
ยมฺปิทํ ชิวฺหาสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
|
กายสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในกาย
|
โผฏฺฐพฺเพสุปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในโผฏฐัพพะทั้งหลาย
|
กายวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยกาย
|
กายสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยกาย
|
ยมฺปิทํ กายสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
|
มนสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในมนะ
|
ธมฺเมสุปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในธรรมทั้งหลาย
|
มโนวิญฺญาเณปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยมนะ
|
มโนสมฺผสฺเสปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัมผัสอาศัยมนะ
|
ยมฺปิทํ มโนสมฺผสฺสปจฺจยา
อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ
|
ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด
|
สุขํ วา
ทุกฺขํ วา
|
เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี
|
อทุกฺขมสุขํ วา
|
ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ดี
|
ตสฺมึปิ นิพฺพินฺทติ
|
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในความรู้สึกนั้น
|
นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ
|
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายติด
|
วิราคา วิมุจฺจติ
|
เพราะคลายติด จิตก็พ้น
|
วิมุตฺตสฺมึ
|
เมื่อจิตพ้น
|
วิมุตฺตมิติ ญาณํ
โหติ
|
ก็มีญาณรู้ว่าพ้นแล้ว
|
ขีณา
ชาติ
วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ
กตํ กรณียํ
นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ
ปชานาตีติ
|
อริยสาวกนั้น ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
|
อิทมโวจ ภควา
|
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสธรรมปริยายอันนี้แล้ว
|
อตฺตมนา เต
ภิกฺขู
|
พระภิกษุเหล่านั้น ก็มีใจยินดี
|
ภควโต ภาสิตํ
อภินนฺทุํ
|
เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า
|
อิมสฺมิญฺจ ปน
เวยฺยากรณสฺมึ
ภญฺญมาเน
|
ก็แลเมื่อเวยยากรณ์อันนี้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่
|
ตสฺส ภิกฺขุสหสฺสสฺส อนุปาทาย
อาสเวหิ จิตฺตานิ
วิมุจฺจึสูติ.
|
จิตของพระภิกษุพันรูปนั้น ก็พ้นจากอาสวะทั้งหลาย ไม่ถือมั่นด้วย
อุปาทานแล.
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น