บทสวดมนต์ ธชัคคสูตร จากหนังสือสวดมนต์แปล ฉบับรวบรวมและแปลโดย พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) วัดมกุฏกษัตริยาราม ซึ่งได้มอบให้มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นเจ้าของ (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 11/2533) (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2481) (542 หน้า)
สามารถดาวน์โหลด Ebook ไฟล์ PDF หนังสือสวดมนต์แปล และไฟล์ DOC, EPUB บทสวดมนต์แปล มาไว้อ่านบนเครื่องคอมพิวเตอร์/โทรศัพท์มือถือ ได้ที่ Link :
https://drive.google.com/drive/folders/0BzNKymgMsofBOThBX3gzNUhWTXc?resourcekey=0-w3YZgnd85d_xWTdYISLL_A&usp=sharing
https://play.google.com/store/search?q=ting074ch&c=books
สามารถรับฟังเสียงสวดมนต์ (สวดมนต์ ทำนองมคธ / ธรรมยุติ โดยไม่เปลี่ยนเสียงพยัญชนะ) และเสียงอ่านคำแปลบทสวดมนต์บางบท ได้ที่ ting074ch Youtube Channel ที่ Link :
https://www.youtube.com/channel/UC0lr6qLF2P9Lm5XdtbsXiQw
เริ่มธชัคคสูตร
|
(หน้า
75)
|
ยสฺสานุสฺสรเณนาปิ
|
แม้ด้วยการระลึกถึงปริตรอันใด
|
อนฺตลิกฺเขปิ ปาณิโน
|
สัตว์ทั้งหลายแม้ในท้องฟ้า
|
ปติฏฺฐมธิคจฺฉนฺติ
|
ย่อมได้ที่พึ่ง
|
ภูมิยํ วิย
สพฺพทา
|
ดุจสัตว์ในแผ่นดินในกาลทุกเมื่อ
|
สพฺพูปทฺทวชาลมฺหา
ยกฺขโจราทิสมฺภวา
คณนา น
จ มุตฺตานํ
|
ก็ความนับสัตว์ทั้งหลาย ผู้พ้นจากข่าย คือ อุปัทวะทั้งปวง อันเกิดแก่สัตว์มียักษ์และโจรเป็นต้น มิได้มี
|
ปริตฺตนฺตมฺภณาม เห.
|
เราทั้งหลาย จงสวดปริตรอันนั้น เทอญ.
|
ธชัคคสูตร
|
(หน้า
76)
|
เอวมฺเม สุตํ
|
อันข้าพเจ้า ( พระอานนทเถระ ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้
|
เอกํ สมยํ
ภควา
|
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า
|
สาวตฺถิยํ วิหรติ
เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส
อาราเม
|
เสด็จประทับอยู่ที่เชตวันวิหาร อารามของอนาถปิณฑิกเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถี
|
ตตฺร โข
ภควา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ
|
ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดังนี้แล้ว
|
ภทนฺเตติ เต
ภิกฺขู
ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ
|
พระภิกษุเหล่านั้น จึงทูลรับพระพุทธพจน์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้า ดังนี้
|
ภควา เอตทโวจ
|
พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า
|
ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องดึกดำบรรพ์เคยมีมาแล้ว
|
เทวาสุรสงฺคาโม
|
สงครามแห่งเทพดากับอสูร
|
สมุปพฺยุฬฺโห อโหสิ
|
ได้เกิดประชิดกันแล้ว
|
อถโข ภิกฺขเว
สกฺโก
|
ครั้งนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย ท้าวสักกเทวราช
|
เทวานมินฺโท เทเว
ตาวตึเส อามนฺเตสิ
|
ผู้เป็นเจ้าแห่งพวกเทพดา เรียกหมู่เทพดาในชั้นดาวดึงส์มาสั่งว่า
|
สเจ มาริสา
เทวานํ
สงฺคามคตานํ อุปฺปชฺเชยฺย ภยํ
วา
ฉมฺภิตตฺตํ วา
โลมหํโส วา
|
ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ ถ้าความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงบังเกิดขึ้นแก่หมู่เทพดา ผู้ไปสู่สงครามในสมัยใด
|
มเมว ตสฺมึ
สมเย
ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ในสมัยนั้น ท่านทั้งหลายพึงแลดูชายธงของเรานั่นเทียว
|
มมํ หิ
โว ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
เพราะว่า เมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเราอยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสติ
|
อันนั้นจักหายไป
|
โน เจ
เม ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเรา
|
อถ ปชาปติสฺส
เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ทีนั้นท่านทั้งหลาย พึงแลดูชายธงของเทวราชชื่อปชาบดี
|
ปชาปติสฺส หิ
โว เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
เพราะว่า เมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดีอยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสติ
|
อันนั้นจักหายไป
|
โน เจ
ปชาปติสฺส เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดี
|
อถ วรุณสฺส
เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ทีนั้นท่านทั้งหลาย พึงแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณ
|
วรุณสฺส หิ
โว เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
เพราะว่า เมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณอยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสติ
|
อันนั้นจักหายไป
|
โน เจ
วรุณสฺส เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณ
|
อถ อีสานสฺส
เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
|
ทีนั้นท่านทั้งหลาย พึงแลดูชายธงของเทวราช ชื่ออีสาน
|
อีสานสฺส หิ
โว เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
เพราะว่า เมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราช ชื่ออีสานอยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสตีติ
|
อันนั้นจักหายไป ดังนี้
|
ตํ โข
ปน ภิกฺขเว
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อนั้นแล
|
สกฺกสฺส วา
เทวานมินฺทสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
คือการแลดูชายธงของสักกเทวราช
ผู้เป็นเจ้าแห่งเทพดาก็ตาม
|
ปชาปติสฺส วา
เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดีก็ตาม
|
วรุณสฺส วา
เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณก็ตาม
|
อีสานสฺส วา
เทวราชสฺส
ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
|
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่ออีสานก็ตาม
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺเยถาปิ โนปิ
ปหิยฺเยถ
|
อันนั้นพึงหายไปได้บ้าง ไม่หายบ้าง
|
ตํ กิสฺส
เหตุ
|
ข้อนั้นเป็นเหตุแห่งอะไร
|
สกฺโก หิ
ภิกฺขเว เทวานมินฺโท
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าท้าวสักกเทวราชผู้เป็นเจ้าแห่งเทพดา
|
อวีตราโค อวีตโทโส
อวีตโมโห
|
เธอมีราคะยังไม่สิ้นไป มีโทสะยังไม่สิ้นไป
มีโมหะยังไม่สิ้นไป
|
ภิรุ ฉมฺภี
อุตฺตราสี ปลายีติ
|
เธอยังเป็นผู้กลัว ยังเป็นผู้หวาด ยังเป็นผู้สะดุ้ง ยังเป็นผู้หนี ดังนี้
|
อหญฺจ โข
ภิกฺขเว เอวํ วทามิ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนเราแล กล่าวอย่างนี้ว่า
|
สเจ ตุมฺหากํ
ภิกฺขเว
อรญฺญคตานํ วา
รุกฺขมูลคตานํ วา
สุญฺญาคารคตานํ วา
|
ถ้าว่าเมื่อท่านทั้งหลาย
ไปอยู่ในป่าก็ตาม
ไปอยู่ที่โคนต้นไม้ก็ตาม
ไปอยู่ในเรือนเปล่าก็ตาม
|
อุปฺปชฺเชยฺย ภยํ
วา
ฉมฺภิตตฺตํ วา
โลมหํโส วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงเกิดขึ้นในสมัยใด
|
มเมว ตสฺมึ
สมเย
อนุสฺสเรยฺยาถ
|
ในสมัยนั้น ท่านทั้งหลายพึงระลึก
ถึงเรานั่นเทียวว่า
|
อิติปิ
|
แม้เพราะเหตุนี้
|
โส ภควา
|
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
|
อรหํ
|
เป็นผู้ไกลกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ ควรบูชา
|
สมฺมาสมฺพุทฺโธ
|
เป็นผู้รู้ชอบเอง
|
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
|
เป็นผู้บริบูรณ์แล้วด้วยวิชชาและจรณะ
|
สุคโต
|
เป็นพระสุคตผู้เสด็จไปดีแล้ว
|
โลกวิทู
|
เป็นผู้ทรงรู้โลก
|
อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ
|
เป็นผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า
|
สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
|
เป็นศาสดาผู้สอนของเทพดา และมนุษย์ทั้งหลาย
|
พุทฺโธ
|
เป็นผู้เบิกบานแล้ว
|
ภควาติ
|
เป็นผู้จำแนกธรรม ดังนี้
|
มมํ หิ
โว ภิกฺขเว อนุสฺสรตํ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงเราอยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสติ
|
อันนั้นจักหายไป
|
โน เจ
มํ อนุสฺสเรยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงเรา
|
อถ ธมฺมํ
อนุสฺสเรยฺยาถ
|
ทีนั้นพึงตามระลึกถึงพระธรรมว่า
|
สฺวากฺขาโต ภควตา
ธมฺโม
|
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว
|
สนฺทิฏฺฐิโก
|
เป็นของอันบุคคลพึงเห็นเอง
|
อกาลิโก
|
เป็นของไม่มีกาลเวลา
|
เอหิปสฺสิโก
|
เป็นของจะร้องเรียกผู้อื่นให้มาดูได้
|
โอปนยิโก
|
เป็นของอันบุคคลพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ
|
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ
วิญฺญูหีติ
|
เป็นของอันวิญญูชนทั้งหลาย พึงรู้เฉพาะตัว ดังนี้
|
ธมฺมํ หิ
โว ภิกฺขเว อนุสฺสรตํ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงพระธรรมอยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสติ
|
อันนั้นจักหายไป
|
โน เจ
ธมฺมํ อนุสฺสเรยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงพระธรรม
|
อถ สงฺฆํ
อนุสฺสเรยฺยาถ
|
ทีนั้นพึงตามระลึกถึงพระสงฆ์ว่า
|
สุปฏิปนฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ
|
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
|
อุชุปฏิปนฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ
|
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
|
ญายปฏิปนฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ
|
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติถูกแล้ว
|
สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ
|
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว
|
ยทิทํ
|
คือ
|
จตฺตาริ ปุริสยุคานิ
|
คู่แห่งบุรุษทั้งหลาย 4
|
อฏฺฐ ปุริสปุคฺคลา
|
บุรุษบุคคลทั้งหลาย 8
|
เอส ภควโต
สาวกสงฺโฆ
|
นี่พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า
|
อาหุเนยฺโย
|
ท่านเป็นผู้ควรสักการะที่เขานำมาบูชา
|
ปาหุเนยฺโย
|
ท่านเป็นผู้ควรของต้อนรับ
|
ทกฺขิเณยฺโย
|
ท่านเป็นผู้ควรทักษิณาทาน
|
อญฺชลิกรณีโย
|
ท่านเป็นผู้ควรอัญชลีกรรม
|
อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ
โลกสฺสาติ
|
ท่านเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาอื่นยิ่งกว่า ดังนี้
|
สงฺฆํ หิ
โว ภิกฺขเว อนุสฺสรตํ
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่
|
ยมฺภวิสฺสติ ภยํ
วา ฉมฺภิตตฺตํ
วา โลมหํโส
วา
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
|
โส ปหิยฺยิสฺสติ
|
อันนั้นจักหายไป
|
ตํ กิสฺส
เหตุ
|
ข้อนั้นเป็นเหตุแห่งอะไร
|
ตถาคโต หิ
ภิกฺขเว
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าพระตถาคต
|
อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
|
เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
|
วีตราโค วีตโทโส
วีตโมโห
|
มีราคะสิ้นไปแล้ว มีโทสะสิ้นไปแล้ว มีโมหะสิ้นไปแล้ว
|
อภิรุ อจฺฉมฺภี
|
เป็นผู้ไม่กลัว เป็นผู้ไม่หวาด
|
อนุตฺตราสี อปลายีติ
|
เป็นผู้ไม่สะดุ้ง เป็นผู้ไม่หนี ดังนี้แล
|
อิทมโวจ ภควา
|
พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้
|
อิทํ วตฺวาน
สุคโต
|
พระองค์ผู้เป็นพระสุคต ครั้นตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว
|
อถาปรํ เอตทโวจ
สตฺถา
|
ลำดับนั้น พระองค์ผู้เป็นพระศาสดา จึงตรัสพระพุทธพจน์นี้ อีกว่า
|
อรญฺเญ รุกฺขมูเล
วา
สุญฺญาคาเรว ภิกฺขโว
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายอยู่ในป่า หรือในรุกขมูล หรือในเรือนเปล่า
|
อนุสฺสเรถ สมฺพุทฺธํ
|
พึงระลึกถึงพระสัมพุทธ
|
ภยํ ตุมฺหาก
โน สิยา
|
ภัยจะไม่พึงมี แก่ท่านทั้งหลาย
|
โน เจ
พุทฺธํ สเรยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่ระลึกถึงพระพุทธ
|
โลกเชฏฺฐํ นราสภํ
|
ซึ่งเป็นใหญ่กว่าโลก ประเสริฐกว่านรชน
|
อถ ธมฺมํ
สเรยฺยาถ
|
ทีนั้นพึงระลึกถึงพระธรรม
|
นิยฺยานิกํ สุเทสิตํ
|
อันเป็นเครื่องนำออก
ที่เราแสดงไว้ดีแล้ว
|
โน เจ
ธมฺมํ สเรยฺยาถ
|
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่ระลึกถึงพระธรรม
|
นิยฺยานิกํ สุเทสิตํ
|
อันเป็นเครื่องนำออก
ที่เราแสดงไว้ดีแล้ว
|
อถ สงฺฆํ
สเรยฺยาถ
|
ทีนั้นพึงระลึกถึงพระสงฆ์
|
ปุญฺญกฺเขตฺตํ อนุตฺตรํ
|
ซึ่งเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาอื่นยิ่งกว่า
|
เอวมฺพุทธํ สรนฺตานํ
ธมฺมํ สงฺฆญฺจ
ภิกฺขโว
|
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายมาระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้
|
ภยํ วา
ฉมฺภิตตฺตํ วา
โลมหํโส น
เหสฺสตีติ.
|
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี จักไม่มีแล.
|
ดีมาก
ตอบลบ