บทสวดมนต์ กรณียเมตตสูตร จากหนังสือสวดมนต์แปล ฉบับรวบรวมและแปลโดย พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) วัดมกุฏกษัตริยาราม ซึ่งได้มอบให้มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นเจ้าของ (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 11/2533) (พิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2481) (542 หน้า)
สามารถดาวน์โหลด Ebook ไฟล์ PDF หนังสือสวดมนต์แปล และไฟล์ DOC, EPUB บทสวดมนต์แปล มาไว้อ่านบนเครื่องคอมพิวเตอร์/โทรศัพท์มือถือ ได้ที่ Link :
https://drive.google.com/drive/folders/0BzNKymgMsofBOThBX3gzNUhWTXc?resourcekey=0-w3YZgnd85d_xWTdYISLL_A&usp=sharing
https://play.google.com/store/search?q=ting074ch&c=books
สามารถรับฟังเสียงสวดมนต์ (สวดมนต์ ทำนองมคธ / ธรรมยุติ โดยไม่เปลี่ยนเสียงพยัญชนะ) และเสียงอ่านคำแปลบทสวดมนต์บางบท ได้ที่ ting074ch Youtube Channel ที่ Link :
https://www.youtube.com/channel/UC0lr6qLF2P9Lm5XdtbsXiQw
เริ่มกรณียเมตตสูตร
|
(หน้า
65)
|
ยสฺสานุภาวโต ยกฺขา
เนว ทสฺเสนฺติ
ภึสนํ
|
ยักษ์ทั้งหลาย ย่อมไม่แสดงอาการอันพิลึก เพราะอานุภาพแห่งปริตรอันใด
|
ยมฺหิ เจวานุยุญฺชนฺโต
รตฺตินฺทิวมตนฺทิโต
|
อนึ่ง บุคคลผู้ไม่เกียจคร้านแล้ว ทั้งกลางวันและกลางคืน ฝักใฝ่ในพระปริตรอันใด
|
สุขํ สุปติ
สุตฺโต จ
|
จะหลับและหลับแล้วก็เป็นสุข
|
ปาปํ กิญฺจิ
น ปสฺสติ
|
ย่อมไม่เห็นสุบินอันลามกไร
ๆ
|
เอวมาทิคุณูเปตํ
ปริตฺตนฺตมฺภณาม เห.
|
เราทั้งหลาย จงสวดปริตรอันนั้น อันประกอบไปด้วยคุณมีอย่างนี้ เป็นต้น
เทอญ.
|
กรณียเมตตสูตร
|
(หน้า
66)
|
กรณียมตฺถกุสเลน
ยนฺตํ สนฺตํ
ปทํ อภิสเมจฺจ
|
กิจนั้นใดอันพระอริยเจ้า บรรลุบทอันระงับกระทำแล้ว กิจนั้นอันกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ
|
สกฺโก อุชู
จ สุหุชู จ
|
กุลบุตรนั้น พึงเป็นผู้อาจหาญและซื่อตรงดี
|
สุวโจ จสฺส
มุทุ อนติมานี
|
เป็นผู้ที่ว่าง่าย อ่อนโยน
ไม่มีอติมานะ
|
สนฺตุสฺสโก จ
สุภโร จ
|
เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย
|
อปฺปกิจฺโจ จ
สลฺลหุกวุตฺติ
|
เป็นผู้มีกิจธุระน้อย ประพฤติเบากายจิต
|
สนฺตินฺทฺริโย จ
นิปโก จ
|
มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา
|
อปฺปคพฺโภ กุเลสุ
อนนุคิทฺโธ
|
เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย
|
น จ
ขุทฺทํ สมาจเร กิญฺจิ
เยน วิญฺญู
ปเร อุปวเทยฺยุํ
|
วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นได้ด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย ( พึงแผ่ไมตรีจิตไปในหมู่สัตว์ว่า )
|
สุขิโน วา
เขมิโน โหนฺตุ
สพฺเพ สตฺตา
ภวนฺตุ สุขิตตฺตา
|
ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด
|
เย เกจิ
ปาณภูตตฺถิ
|
สัตว์มีชีวิตทั้งหลาย เหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่
|
ตสา วา
ถาวรา วา อนวเสสา
|
ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ
|
ทีฆา วา
เย มหนฺตา วา
มชฺฌิมา รสฺสกา
อณุกถูลา
|
เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลาง หรือสั้น
หรือผอม พี
|
ทิฏฺฐา วา เย
จ อทิฏฺฐา
|
เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น
|
เย จ
ทูเร วสนฺติ อวิทูเร
|
เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล
|
ภูตา วา
สมฺภเวสี วา
|
ที่เกิดแล้ว หรือกำลังแสวงหาภพก็ดี
|
สพฺเพ สตฺตา
ภวนฺตุ สุขิตตฺตา
|
ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด
|
น ปโร
ปรํ นิกุพฺเพถ
|
สัตว์อื่นอย่าพึงข่มเหงสัตว์อื่น
|
นาติมญฺเญถ กตฺถจิ
นํ กิญฺจิ
|
อย่าพึงดูหมิ่นอะไร
ๆ เขาในที่ไร ๆ เลย
|
พฺยาโรสนา ปฏีฆสญฺญา
นาญฺญมญฺญสฺส ทุกฺขมิจฺเฉยฺย
|
ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธและเพราะความคุมแค้น
|
มาตา ยถา
นิยํ ปุตฺตํ
อายุสา เอกปุตฺตมนุรกฺเข
|
มารดาถนอมลูกคนเดียว ผู้เกิดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ ฉันใด
|
เอวมฺปิ สพฺพภูเตสุ
มานสมฺภาวเย อปริมาณํ
|
พึงเจริญเมตตา มีในใจ
ไม่มีประมาณในสัตว์ทั้งปวง แม้ฉันนั้น
|
เมตฺตญฺจ สพฺพโลกสฺมึ
มานสมฺภาวเย อปริมาณํ
|
บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจ
ไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น
|
อุทฺธํ อโธ
จ ติริยญฺจ
|
ทั้งเบื้องบนเบื้องต่ำเบื้องเฉียง
|
อสมฺพาธํ อเวรํ
อสปตฺตํ
|
เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร
ไม่มีศัตรู
|
ติฏฺฐญฺจรํ นิสินฺโน
วา
|
ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี
|
สยาโน วา
ยาวตสฺส วิคตมิทฺโธ
|
นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด
|
เอตํ สตึ
อธิฏฺเฐยฺย
|
ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น
|
พฺรหฺมเมตํ วิหารํ
อิธมาหุ
|
บัณฑิตทั้งหลาย
กล่าวกิริยาอันนี้ว่าเป็นพรหมวิหารในพระศาสนานี้
|
ทิฏฺฐิญฺจ อนุปคมฺม
สีลวา
|
บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล
|
ทสฺสเนน สมฺปนฺโน
|
ถึงพร้อมแล้วด้วยทัสสนะ ( คือ โสดาปัตติมรรค )
|
กาเมสุ วิเนยฺย
เคธํ
|
นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก
|
น หิ
ชาตุ คพฺภเสยฺยํ ปุนเรตีติ.
|
ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด )
ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียวแล.
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น